การประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ
รีโมทเซนซิง ได้นำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศหลายด้าน ซึ่งเราสามารถประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ เช่น
ด้านที่ดิน· รีโมทเซนซิง สามารถใช้แปล รูปแบบการใช้ที่ดินประเภทต่างๆ และนำผลลัพธ์ที่ได้มาจัดทำแผนที่การใช้ที่ดิน
· รีโมทเซนซิง นำมาใช้สนับสนุนติดตามและประเมินแนวโน้มการใช้ที่ดินประเภทต่างๆ เช่น ด้านการเกษตร พื้นที่ป่าไม้ เป็นต้น
ด้านการเกษตร
· ภาพถ่ายจากดาวเทียมใช้สำรวจบริเวณพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจเช่นพื้นที่ปลูกข้าวปาล์มน้ำมันยางพาราสัปปะรดอ้อย ข้าวโพด ฯลฯ
· ผลลัพธ์จากการแปลภาพใช้ประเมินการเปลี่ยนแปลงการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในแง่ปริมาณ ราคา ช่วงเวลา ฯลฯ
· ติดตามขอบเขตและความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าและเขตอนุรักษ์พันธุ์ไม้
· ประเมินบริเวณพื้นที่ที่เหมาะสม (มีศักยภาพ) ในการปลูกพืชต่าง ๆ เช่น ข้าว ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง เป็นต้น
ด้านป่าไม้
· ติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้จากการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียม เช่น ป่าดงดิบ ป่าดิบชื้น ป่าเต็งรัง ป่าชายเลน เป็นต้น
· ผลลัพธ์จากการแปลสภาพพื้นที่ป่าเพื่อสำรวจพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรม
· นอกจากนี้ยังใช้สำหรับ ติดตามพื้นที่ไฟป่าและความเสียหายจากไฟป่า
· ประเมินพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับปลูกป่าทดแทนบริเวณที่ถูกบุกรุก หรือโดนไฟป่า
ด้านธรณีวิทยา
· การใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียมแปลสภาพพื้นที่เพื่อจัดทำแผนที่ธรณีวิทยาและโครง สร้างทางธรณีซึ่งเป็นข้อมูลที่ต้องใช้เวลาและงบประมาณในการสำรวจ และนำมาสนับสนุนในการพัฒนาประเทศ เช่น เพื่อการประเมินหาแหล่งแร่แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติ แหล่งน้ำบาดาล การสร้างเขื่อน เป็นต้น
· การใช้รีโมทเซนซิง มาสนับสนุนการจัดทำแผนที่ภูมิประเทศ
· ผลลัพธ์จากการแปลภาพใช้ประเมินการเปลี่ยนแปลงการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในแง่ปริมาณ ราคา ช่วงเวลา ฯลฯ
· ติดตามขอบเขตและความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าและเขตอนุรักษ์พันธุ์ไม้
· ประเมินบริเวณพื้นที่ที่เหมาะสม (มีศักยภาพ) ในการปลูกพืชต่าง ๆ เช่น ข้าว ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง เป็นต้น
ด้านป่าไม้
· ติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้จากการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียม เช่น ป่าดงดิบ ป่าดิบชื้น ป่าเต็งรัง ป่าชายเลน เป็นต้น
· ผลลัพธ์จากการแปลสภาพพื้นที่ป่าเพื่อสำรวจพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรม
· นอกจากนี้ยังใช้สำหรับ ติดตามพื้นที่ไฟป่าและความเสียหายจากไฟป่า
· ประเมินพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับปลูกป่าทดแทนบริเวณที่ถูกบุกรุก หรือโดนไฟป่า
· การใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียมแปลสภาพพื้นที่เพื่อจัดทำแผนที่ธรณีวิทยาและโครง สร้างทางธรณีซึ่งเป็นข้อมูลที่ต้องใช้เวลาและงบประมาณในการสำรวจ และนำมาสนับสนุนในการพัฒนาประเทศ เช่น เพื่อการประเมินหาแหล่งแร่แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติ แหล่งน้ำบาดาล การสร้างเขื่อน เป็นต้น
· การใช้รีโมทเซนซิง มาสนับสนุนการจัดทำแผนที่ภูมิประเทศ
ดานการผังเมือง
· ใช้รีโมทเซนซิง ภาพถ่ายจากดาวเทียมรายละเอียดสูงเพื่อใช้ติดตามการขยายตัวของเมือง
· ภาพถ่ายจากดาวเทียมช่วยให้ติดตามการเปลี่ยนแปลงลักษณะ/รูปแบบ/ประเภทการใช้ที่ดิน
· ใช้ภาพถ่ายรายละเอียดสูงติดตามระบบสาธารณูปโภคเช่นระบบคมนาคมขนส่งทางบกทางน้ำBTSไฟฟ้าเป็นต้น
· ผลลัพธ์จากการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียมนำมาใช้ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ วิเคราะห์การพัฒนาสาธารณูปการเช่น การจัดสร้าง/ปรับปรุงสถานศึกษาโรงพยาบาลสถานีตำรวจดับเพลิงไปรษณีย์ห้องสมุด สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ เป็นต้น
ด้านสิ่งแวดล้อม· รีโมทเซนซิงได้ใช้แปลสภาพทรัพยากรชายฝั่งที่เปลี่ยนแปลงเป็นประโยชน์ต่อการ ศึกษาวิเคราะห์การจัดการทรัพยากรชายฝั่งเช่น การพังทลายของดินชายฝั่งการทำลายป่าชายเลนการทำนากุ้ง การอนุรักษ์ปะการังเป็นต้น
· ภาพถ่ายจากดาวเทียมในช่วงคลื่น visible ช่วยในการ ศึกษา/ติดตาม/ตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ำ
· ผลลัพธ์จากการแปลภาพนำมาประกอบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์ความ รุนแรงของปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางด้านน้ำ อากาศ เสียง ขยะ และสารพิษ
· รีโมทเซนซิงจึงช่วยสนับสนุนการวางแผนพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ด้านโบราณคดี ภาพถ่ายจากดาวเทียมรายละเอียดสูงใช้ติดตามพื้นที่แหล่งชุมชนโบราณหรือพื้นที่โบราณสถาน
ภาพถ่ายจากดาวเทียมรายละเอียดสูงช่วยติดตามเพื่อการบำรุงรักษา คู คันดินรอบชุมชน
สระน้ำหรือบาราย เขื่อน
ด้านการประมงและสมุทรศาสตร์
รีโมทเซนซิงใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับการไหลเวียนของน้ำในท้องทะเล
· ศึกษาตะกอนในทะเลและคุณภาพของน้ำบริเวณชายฝั่งเช่น การแพร่ของตะกอนแขวนลอยจากการทำเหมืองแร่ในทะเลศึกษาการประมงด้วยภาพดาว เทียมเรดาร์ที่เห็นพื้นที่ประมงน้ำเค็ม
ด้านอุตุนิยมวิทยาและภัยพิบัติ
ภาพถ่ายจากดาวเทียมสามารถใช้ถ่ายพื้นที่ที่ได้รับเหตุอุบัติภัยและกำหนดขอบ เขตบริเวณที่เกิดอุบัติภัยได้ติดตามและประเมินผลเสียหายเบื้องต้น
ภาพถ่ายจากดาวเทียมนำมาใช้ศึกษาลักษณะการเกิดและประเมินความรุนแรง
ผลลัพธ์ที่ได้จากการแปลพื้นที่ได้รับผลกระทบเพื่อการวางแผนช่วยเหลือและฟื้นฟู
· ภาพถ่ายจากดาวเทียมในช่วงคลื่น visible ช่วยในการ ศึกษา/ติดตาม/ตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ำ
· ผลลัพธ์จากการแปลภาพนำมาประกอบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์ความ รุนแรงของปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางด้านน้ำ อากาศ เสียง ขยะ และสารพิษ
· รีโมทเซนซิงจึงช่วยสนับสนุนการวางแผนพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ด้านโบราณคดี ภาพถ่ายจากดาวเทียมรายละเอียดสูงใช้ติดตามพื้นที่แหล่งชุมชนโบราณหรือพื้นที่โบราณสถาน
ภาพถ่ายจากดาวเทียมรายละเอียดสูงช่วยติดตามเพื่อการบำรุงรักษา คู คันดินรอบชุมชน
สระน้ำหรือบาราย เขื่อน
ด้านการประมงและสมุทรศาสตร์
รีโมทเซนซิงใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับการไหลเวียนของน้ำในท้องทะเล
· ศึกษาตะกอนในทะเลและคุณภาพของน้ำบริเวณชายฝั่งเช่น การแพร่ของตะกอนแขวนลอยจากการทำเหมืองแร่ในทะเลศึกษาการประมงด้วยภาพดาว เทียมเรดาร์ที่เห็นพื้นที่ประมงน้ำเค็ม
ภาพถ่ายจากดาวเทียมสามารถใช้ถ่ายพื้นที่ที่ได้รับเหตุอุบัติภัยและกำหนดขอบ เขตบริเวณที่เกิดอุบัติภัยได้ติดตามและประเมินผลเสียหายเบื้องต้น
ภาพถ่ายจากดาวเทียมนำมาใช้ศึกษาลักษณะการเกิดและประเมินความรุนแรง
ผลลัพธ์ที่ได้จากการแปลพื้นที่ได้รับผลกระทบเพื่อการวางแผนช่วยเหลือและฟื้นฟู
ด้านการทำแผนที่
ภาพถ่ายจากดาวเทียมที่ทันสมัยนำมาปรับปรุงแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วนใหญ่ 1:50000 ได้อย่างรวดเร็วทันสมัย
· ศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางด้านภูมิประเทศ เส้นทางการคมนาคม หรือสิ่งก่อสร้างที่เกิดขึ้นใหม่
· ใช้ในการวางแผน/การมองภาพรวมที่รวดเร็วและถูกต้อง
· ศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางด้านภูมิประเทศ เส้นทางการคมนาคม หรือสิ่งก่อสร้างที่เกิดขึ้นใหม่
· ใช้ในการวางแผน/การมองภาพรวมที่รวดเร็วและถูกต้อง
· จัดทำภาพสามมิติ
ด้านทรัพยากรน้ำ/อุทกวิทยา
รีโมทเซนซิง ใช้ศึกษาแหล่งน้ำทั้งบนบกในทะเล น้ำบนดินและใต้ผิวดิน
· ศึกษาองค์ประกอบอื่นๆ ที่สัมพันธ์กับน้ำ เช่น ปริมาณ คุณภาพ การไหล การหมุนเวียน เป็นต้น
อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล/ภาพ
http://www.scitu.net/gcom/?p=739
http://remotesensingrs.blogspot.com/2011/09/blog-post_7877.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น